ศาลนัดไต่สวน 18 ก.ค.นี้ คดี สกลธี ภัททิยกุล ผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. ยื่นฟ้อง คำผกา-วิโรจน์ ด้อยค่า-หยาบคาย หลังจากที่ก่อนหน้านี้ นายสกลธี ภัททิยกุล ผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หมายเลข 3 ยืนยันจะดำเนินคดีกับ “วิโรจน์ อาลี – คำผกา” 2 พิธีกรชื่อดัง กรณีถูกวิพากษ์วิจารณ์ด้วยการด้อยค่าและมีการใช้ถ้อยคำหยาบคาย
โดย ฃทาง นายสกลธี ได้เคยโพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจ
เมื่อวันที่ 20 เม.ย. ว่า ทั้ง 2 คน “ ได้กล่าวถึงผม อุดมการณ์ทางการเมืองของผมรวมถึงสิ่งที่ผมได้เคยโพสต์ในอดีตด้วยการด้อยค่าและถ้อยคำหยาบคาย เกินกว่าหน้าที่ของสื่อมวลชนจะติชมหรือวิพากษ์วิจารณ์โดยสุจริต และเป็นที่เชื่อได้ว่าอาจทำให้ผมถูกเกลียดชังจากบุคคลที่ได้รับชมรายการและไม่ทราบเรื่องที่มาที่ไปทั้งหมด “โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระหว่างที่ผมอยู่ในช่วงหาเสียงลงเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ผมจึงขอใช้สิทธิ์ทางกฎหมายมอบให้ทนายความไปฟ้องดำเนินคดีบุคคลทั้ง 2 คนรวมถึงบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องต่อไป”
ล่าสุด วันนี้ (22 เม.ย. 2565) ศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก ได้ประทับฟ้อง คดีหมายเลขดำที่ อ.967/2565 จากการยื่นฟ้องโดยทนายความของ สกลธี ผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. สังกัดอิสระ หมายเลข 3 ที่ได้ฟ้องร้องต่อ ลักขณา ปันวิชัย หรือ ‘คำผกา’ จำเลยที่ 1 และ วิโรจน์ อาลี จำเลยที่ 2 ฐานร่วมกันหมิ่นประมาทโดยการโฆษณา โดยศาลได้นัดไต่สวนมูลฟ้องคดีนี้ ในวันที่ 18 ก.ค. 2565 เวลา 9.00 น.
สำหรับคดีนี้ เกิดจากการที่คำผกาและวิโรจน์ได้ทำหน้าที่พิธีกรในรายการ Talking Thailand ซึ่งออกอากาศทาง Voice TV เมื่อวันที่ 24 มี.ค. และ 11 เม.ย. 2565 ที่ได้มีการกล่าวพาดพิงถึงสกลธีและอุดมการณ์ทางการเมืองในอดีตของเขาที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของขบวนการ กปปส.
การกระทําของจําเลยที่ 3 และที่ 4 จึงไม่เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 151 และมาตรา 157 เมื่อทางไต่สวนไม่ปรากฏข้อเท็จจริงว่าจําเลยที่ 3 และที่ 4 รู้หรือควรรู้ว่าการเสนอราคาครั้งนี้มีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอ ราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542 หรือกระทําโดยมุ่งหมายมิให้มีการแข่งขันราคาอย่างไม่เป็นธรรม
เพื่อเอื้ออํานวยแก่จําเลยที่ 5 เข้าทําการเสนอราคา จําเลยที่ 3 และที่ 4 จึงไม่มีความผิดตามพระราชบัญญัติ ว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2542 มาตรา 10 และมาตรา 12 ด้วย จําเลยที่ 3 และที่ 4 จึงไม่มีความผิดตามฟ้อง
‘เทพไท’ เผย ‘จุรินทร์’ รู้ประวัติ ‘ปริญญ์’ อยู่แล้ว อวยเป็นสุภาพบุรุษยอมรับผิด
เทพไท เผย จุรินทร์ ทราบประวัติของ ปริญญ์ อยู่แล้ว หลังถูกท้วงขณะเสนอชื่อ พร้อมอวยจุรินทร์เป็นสุภาพบุรุษ ยอมรับผิดตามข้อเท็จจริง นายเทพไท เสนพงศ์ อดีต ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ ได้ออกมาโพสต์ข้อความเฟซบุ๊กพูดถึงกรณีที่ ปริญญ์ พานิชภักดิ์ อดีตรองหัวหน้าพรรคที่ในขณะนี้ถูกกล่าวหาว่าเกี่ยวข้องกับคดีล่วงละเมิดทางเพศ และมีผู้เสียหายปรากฏตัวขึ้นมาเป็นจำนวนมากนั้น ล่าสุดนายเทพไทออกมาแฉว่า นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ รู้ถึงพฤติกรรมของนาย ปริญญ์ มาก่อน แต่ยังผลักดันให้ขึ้นรับตำแหน่งรองหัวหน้าพรรค
โดยข้อความเฟซบุ๊กระบุว่า “ทำไม นายจุรินทร์ จึงยอมรับว่า มีส่วนสำคัญ ในการนำนายปริญญ์เข้าพรรค จากการที่นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ได้แถลงข่าวว่า ตนรู้สึกเสียใจอย่างสุดซึ้ง และต้องขอถือโอกาสนี้ กราบขอโทษกับทุกสิ่งที่เกิดขึ้น ในฐานะหัวหน้าพรรคขอเรียนว่า ตนมีส่วนสำคัญในการนำนายปริญญ์เข้าพรรค
แม้ว่ากระบวนการจะต้องผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการบริหารพรรค และการดำรงตำแหน่งรองหัวหน้าพรรค จะต้องผ่านการลงคะแนนให้ความเห็นชอบจากที่ประชุมใหญ่ก็ตาม หรือแม้แต่กรณีที่เราไม่อาจจะทราบการณ์ล่วงหน้าว่า จะเกิดอะไร ขึ้นอย่างไร แต่เมื่อเกิดเหตุขึ้นมา ในฐานะหัวหน้าพรรค ก็หนีไม่พ้นที่จะต้องรับผิดชอบ ต้องร่วมกับคณะกรรมการบริหารพรรค แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นให้ดีที่สุด
ผมคิดว่าคำพูดของนายจุรินทร์ที่ยอมรับว่า มีส่วนสำคัญในการนำนายปริญญ์ พานิชภักดิ์ เข้าเป็นรองหัวหน้าพรรค ทำให้สังคมอย่กรู้ว่า มีส่วนสำคัญอย่างไร จึงขออนุญาตอธิบายตามข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ดังนี้
1.นายปริญญ์ เป็นบุคคลภายนอก ซึ่งเพิ่งเข้ามาสมัครเป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ การเข้าสู่ตำแหน่งคณะกรรมการบริหารพรรค ต้องมีคุณสมบัติตามข้อบังคับพรรค ข้อ 31 ระบุว่า สมาชิกผู้มีคุณสมบัติที่จะได้รับเลือกตั้ง เป็นคณะกรรมการบริหารพรรค จะต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์ และเป็นสมาชิกติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปีนับถึงวันเลือกตั้ง เว้นแต่สมาชิกที่มีคุณสมบัติข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้
(1)เป็นหรือเคยเป็นกรรมการบริหารพรรค
(2)เป็นหรือเคยเป็นคณะกรรมการสาขาพรรค
(3)เป็นหรือเคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในนามพรรค
(4)เป็นหรือเคยเป็นรัฐมนตรีในนามพรรค
(5)เป็นหรือเคยเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น ที่พรรคส่งลงสมัครรับเลือกตั้ง
(6)สมาชิกที่ประชุมใหญ่ มีมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของที่ประชุมใหญ่ มีมติให้ลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นคณะกรรมการบริหารพรรค
เมื่อข้อเท็จจริงฟังไม่ได้ว่าจําเลยที่ 3 และที่ 4 ซึ่งเป็นเจ้าพนักงานและเจ้าหน้าที่ของรัฐ กระทําความผิด จึงฟังไม่ได้ว่าจําเลยที่ 5 และที่ 6 เป็นผู้สนับสนุน การกระทําความผิดจําเลยที่ 3 และที่ 4 จําเลยที่ 5 และที่ 6 จึงไม่มีความผิดตามฟ้อง พิพากษายกฟ้อง
Credit : แนะนำสถานที่ท่องเที่ยว | แต่งบ้านและสวน | พระเครื่อง | รีวิวกล้องถ่ายรูป